วันพุธที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553

งานนำเสนอ

Content-Aware
1. File>open เลือกรูปที่ต้องการ
2. เลือกแถบเครื่องมือ Magnetic Lasso Tool ครอบจุดที่เราต้องการ แล้ว Edit Fill
3. ช่อง USE เลือก Content-Aware ช่อง Mode เลือก Normall ปรับตามความต้องการแล้วกด OKCtrl+D

สร้างจุดเด่นให้กับภาพ
1. File>open เลือกรูปที่ต้องการ
2. Ctrl+ J เพิ่ม Layer ปลดล็อค Backdroud โดยดับเบิ้ลคลิก
3. คลิก Layer ที่1 Image>Adjustments>Desaturate เป็นขาว-ดำ
4. เลือกแถบเครื่องมือ Magnetic Lasso Tool ครอบจุดที่เราต้องการแล้วกด Delete
5. Ctrl+D รวม Layer Ctrl+E เสร็จ

การปรับรูปร่างให้ดูดีขึ้น
1. Fill>open เลือกรูปที่เราต้องการ
2. Filter>Liquify bเลือก show Mesh
3. คลิกเครื่องมือ Forward Warp Tool (W)
4. ถ้าวงกลมใหญ่ให้ปรับที่ Brush Size
5. ปรับส่วนเกินตามที่เราต้องการแค่นี้ก็เสร็จ


ภาพถ่ายเป็นลายเส้น
1. Fill>open เลือกรูปที่เราต้องการ
2. Ctrl+J แล้ว Image>Adjustment>Invert
3. เปลี่ยนตรง Normal >Color Dodge>
Filter>Blur>Gaussian เปลี่ยนเป็น 2 แล้ว OK เพิ่ม Layer
4. Shift>Ctrl>Alt>E
5. Image>Adjustment>Threshold เปลี่ยนเป็น 240 แค่นี้ก็เสร็จแล้วค่ะ

HDR-Toning
1. File>open เลือกรูปที่เราต้องการ
2. Image>Adjustment>HDR-Toning
3. ปรับเครื่องทุกอันตามต้องการแค่นี้ก็เสร็จ

ภาพสกีน , ภาพหลอก
1. File>open เลือกรูปที่เราต้องการ
2. Ctrl+J เพิ่ม Layer
3. Image>Mode>LabColor>Don’t Flatten
4. Image>Adjustment>Cuves ปรับตามต้งการแค่นี้ก็แล้ว

การทำบาร์โค้ดแบบง่ายๆ
1. File>New ปรับขนาด 150/60/72
2. Background Contents เป็น Transparent
3. ไปที่แถบเครื่องมือ Paint Bucket Tool G
4. Filter>Noise>Add Noise เปลี่ยนเป็น 400
5. ติ๊กถูกที่ Monochromatic แล้วกด OK
6. Filter>Blur>Motion Blur เปลี่ยนบน 90
ล่าง 999 แล้วก็ OK
7. Filter>Sharpen>Sharpen Edges
8. แล้วเลือกเครื่องมือ Rectaugular Marquee Tool M
9. ตรงที่เราต้องการเพื่อให้เหมือนบาร์โค้ดแล้วเทสีขาวพิมพ์ตัวเลขเสร็จ

การทำตาโตให้สวยงามด้วย Brush ขนตา
1. File>open เลือกรูปที่เราต้องการ
2. เลือกแถบเครื่องมือ Brush Tool คลิกมุมขวา Load Brush
3. ลือกคลิกที่ขนตาแล้วกด OK
4. Filter>Liquify เลือกเครื่องมือ Pucker Tool (S)
5 ปรับตาดำให้ใหญ่ขึ้นเพื่อให้ใส่ขนตาได้ง่ายๆ
6. เพิ่ม Layer ใส่ขนตา ซ้าย-ขวา-บน-ล่าง
7. Ctrl+E รวม Layer แล้ว Ctrl+S เพื่อบันทึกเสร็จ

วันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553

1.เปิดภาพที่ต้องการทำงานขึ้นมาใน photoshop





2.copy layer เพิ่มขึ้นมาด้วยการแดรกเมาส์นำเลเยอร์ background มาปล่อยลงปุ่ม create a new layer เพื่อเพิ่มเลเยอร์





3.คลิกคำสั่ง filter > Artistic> watercolor





4.ปรับค่า Brush Detail=9 shadow lntensity=1 texture=1





5.หลังจากกำหนดค่าแล้วเราจะได้ผลลัพธ์ดังภาพ
6.ที่ช่อง Blending Mode ให้เปลี่ยนเป็นโหมดเป็น Linear Light






7.ทีเลเยอร์ Background copy ก๊อปปี้ Layer เพิ่มขึ้นมาด้วยการแดกเมาส์นำเลเยอร์ Background copy มาปล่อยลงบนปุ่ม Create a new layer เพิ่มเลเยอร์






8.ที่ช่อง Blending Mode ให้เป็นโหมดเป็น Overlay





9.ก็จะได้ภาพแบบสีน้ำ









































วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

1. VARCHAR Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์ หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล2. TINYINT สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น3. TEXT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ4. DATE สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD5. SMALLINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT6. MEDIUMINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT7. INT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT8. BIGINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)9. FLOAT[(M,D)] ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต10. DOUBLE[(M,D)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+30811. DECIMAL[(M,D)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง12. DATETIME สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS13. TIMESTAMP[(M)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 814. TIME สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS15. YEAR[(2/4)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 206916. CHAR สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ17. TINYBLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์18. TINYTEXT ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร19. BLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 6420. KBMEDIUMBLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB21. MEDIUMTEXT เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร22. LONGBLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB23. LONGTEXT เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร24. SET สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า25. ENUM(Enumeration) หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่26. BINARY ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0กับ 1 บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น27. BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)28. VARBINARY คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
1. VARCHAR Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์ หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
2. TINYINT สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
3. TEXT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
4. DATE สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
5. SMALLINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
6. MEDIUMINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
7. INT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
8. BIGINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
9. FLOAT[(M,D)] ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
10. DOUBLE[(M,D)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
11. DECIMAL[(M,D)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
12. DATETIME สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
13. TIMESTAMP[(M)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
14. TIME สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
15. YEAR[(2/4)] สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
16. CHAR สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
17. TINYBLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
18. TINYTEXT ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
19. BLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64
20. KBMEDIUMBLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
21. MEDIUMTEXT เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
22. LONGBLOB สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
23. LONGTEXT เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
24. SET สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
25. ENUM(Enumeration) หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
26. BINARY ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0กับ 1 บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
27. BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
28. VARBINARY คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์

วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ขั้นตอนการติดตั้ง AppServ

ขั้นตอนการติดตั้ง AppServ
ดาวน์โหลดโปรแกรม AppServ จากเว็บไซต์ http://kitt.kvc.ac.th เลือกเวอร์ชั่น appserv-win32-2.5.9.exe ติดตั้ง คลิก Run ไฟล์ appserv-win32-2.5.9.exe เพื่อทำการติดตั้ง เข้าสู่ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม โดยโปรแกรม AppServ ในรูปแบบ GNU License หากผู้ติดตั้งอ่านเงื่อนไขต่างๆ เสร็จสิ้นแล้ว ให้กด Next เพื่อเข้าสู่การติดตั้งในขั้นต่อไปเข้าขั้นตอนที่ต้องการติดตั้ง โดยติดตั้งจะเป็น C:AppServ ให้กดปุ่ม Next เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งขั้นต่อไป เลือก Package Components ที่ต้องการให้กด Next เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการติดตั้งต่อไป กำหนดค่าของ Apache Web Server มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 ส่วน คือ Server Name ,Admin Email,HTTP Port จะมีค่าคือ 80 ขั้นตอนต่อไปคือกำหนดค่าคอนฟิกของ MySQL Database คือ Root Password ,Character Sets สิ้นสุดขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม AppServ สำหรับขั้นตอนสุดท้ายจะมีให้เลือกว่าต้องการสั่งให้มีการรัน Apache และ MySQLทันทีหรือไม่ จากนั้นกดปุ่ม Finish เพื่อเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม AppServ

วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552

Vocaburaly

1.Database ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล
2.DBMS (data base management system) ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการฐานข้อมูล ช่วยในการสร้างข้อมูล เพิ่มข้อมูล ลบข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล
3.Database Administrators : DBAs บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล
4.Database Developmentโปรแกรมสำเร็จรูปจัดการฐานข้อมูล เช่น Microsoft Access หรือ Lotus Approach อนุญาตให้ผู้ใช้พัฒนาฐานข้อมูลตามที่ต้องการได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามระบบผู้รับบริการและผู้ให้บริการ
5.Data Definition Language : DDL เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6.Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม
7.Graphical and Natural Queriesผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์8.Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สามารถใช้ภาษาโปรแกรมยุคที่สี่ (4GL Programming Language) และสร้างเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์จากโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูล
9.Data Manipulation Language : DML เป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา10.Subject Area Database : SADB ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11.Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12.Multidimensional Database ให้การสนับสนุนสำหรับฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาก
13.Data Warehouses เก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ คลังข้อมูลอาจแบ่งออกเป็นตลาดข้อมูล
14.Distributed Databasesการกระจายสำเนา (Copies) หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่ ฐานข้อมูลแบบกระจายนี้สามารถติดตั้งอยู่บนเครื่องแม่ข่ายเครือข่าย World Wide Web บนอินทราเน็ตขององค์กร หรือเอ็กซ์ทราเน็ต ฐานข้อมูลแบบกระจายอาจจะสำเนาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการหรือฐานข้อมูลเชิงวิเคราะห์
15.End User Databasesประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
16.Field) เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น
17.Record) จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18.Table) จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entity) เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า เอนทิตี้ของระบบ นี้จะประกอบด้วย เอนทิตี้ลูกค้า ใบสั่งซื้อสินค้า และสินค้า
20.InfraStucture Management คือการจัดทำระบบการบริหารงานคุณภาพ โครงสร้างพื้นฐาน การควบคุมคุณภาพ

วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552

1Working เวิกกิ่ง การทำงาน
2Principles พริ้นชิป หลักการ
3Along อะล่อง ตาม
4Decides ดีซีส ตัดสินใจ
5Department ดีพีเม้น แผนก
6Request รีเควส ขอร้อง
7Send เซ็น ส่ง
8Artwork อาทเวค ศิลปะ
9Think ติ้ง คิด
10Ratings ริดติ้ง การให้คะแนน
11Studies ซะตู้ดิ้ง การศึกษา
12Together ทองทั่ว ด้วยกัน
13Translation ทรานซะลูชั่น แปล
14Resolution รีซะรูชั่น ความละเอียด
15using ยูซิ่ง โดยใช้
16about อะเบ้า เกี่ยวกับ
17final ฟีนอล ขั้ นสุดท้าย
18each เอ้น แต่ละ
19settings ซิตติ้ง การตั้งค่า
20performs เพอฟอม ประสิทธิภาพ
21diagnostics ดิ้งโน้ต การวินิจฉัย
22graphics กราฟฟิก กราฟิก
23specifically ซะปีชี่ฟี่คอรี่ เฉพาะ
24geometric กีเมทริก ทางเรขาคณิต
25calculations คอคูเลชั่น การคำนวณ
26necessary นีชิสซะรี่ ที่จำเป็น
27fastest เฟรสเทส เร็วที่สุด
28produces โปรดักส์ ผลิต
29located โลเทส ที่ตั้งอยู่
30addition อะดิติชั่น นอกจากนี้
31special ซะเปเชี่ยว พิเศษ
32analyze อะนารี่ชี่ วิเคราะห์
33market มาคเก็ต ตลาด
34edges อิสเก็ต ขอบ
35which วิส อันไหน
36filtering ฟิวเตอรริ่ง กรอง
37display ดิสเพล แสดงผล
38creates ทราเกต การสร้าง
39uses ยูส ใช้
40meaning เมนติ้ง ความหมาย
41signal ซิ่งเกล สัญญาณ
42support ซัพพลอส สนับสนุน
43analog อะนาล็อก อนาล็อก
44provide พูเวส จัดหาให้
45through ทรอง ผ่านไป
46intensive อินเทรนซีฟ เข้ม
47specif ic ซะปีชี่ เฉพาะ
48capability คาพาบิลิตี้ ความสามารถ
49choose โคส เลือก
50people พีเพอ ประชาชน